วันพุธที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2559

การเคลื่อนที่แนวดิ่ง

การเคลื่อนที่แนวดิ่ง (Motion under gravity)
                เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกอย่างอิสระภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลกเพียงแรงเดียว การเคลื่อนที่ลักษณะนี้จะไม่คิดแรงต้านของอากาศ
สมการการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง 
                เนื่องจากการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง คือ การการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงแบบหนึ่ง ดังนั้น สมการในการคำนวณจึงเหมือนกับสมการการเคลื่อนที่ในแนวราบเพียงแต่เปลี่ยนค่า a เป็นg เท่านั้น อ่านต่อ...
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การเคลื่อนที่แนวดิ่ง (Motion under gravity)

การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง

การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง แบ่งเป็น 2 แบบ คือ
              1. การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงที่ไปทิศทางเดียวกันตลอด เช่น โยนวัตถุขึ้นไปตรงๆ รถยนต์  กำลังเคลื่อนที่ไปข้างหน้าในแนวเส้นตรง
              2. การเคลื่อนที่ในแนวเส้นเส้นตรง แต่มีการเคลื่อนที่กลับทิศด้วย เช่น รถแล่นไปข้างห อ่านต่อ...


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การเคลื่อนที่แนวตรง

ปริมาณเวกเตอร์

 ปริมาณเวกเตอร์ คือ ปริมาณที่ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทาง จึงจะได้ความหมายสมบูรณ์ เช่น การกระจัด ความเร่ง ความเร็ว แรง โมเมนตัม ฯลฯ 
การหาผลลัพธ์ของปริมาณเวกเตอร์ ต้องอาศัยวิธีการทางเวคเตอร์ โดยต้องหาผลลัพธ์ทั้งขนาดและทิศทาง อ่านต่อ...

ปริมาณทางฟิสิกส์


      วิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับความจริงที่สามารถพิสูจน์ได้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ นำความรู้ที่ได้จากการศึกษาทดลอง จดบัทึกมารวบรวมเป็นกฎ ทฤษฎี เพื่อเป็นความรู้ในการอธิบายปรากฎการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งการศึกษาวิทยาศาสร์เป็นการศึกษา2 ส่วนคือ เชิงคุณภาพ เป็นการศึกษาบรรยายเชิงข้อมูลพรรณนา ตามสภาพการรับรู้ของมนุษย์ เช่น การบรรยายรูปลักษณะ สี กลิ่น รส และเชิงปริมาณ เป็นการศึกษาข้อมูลเชิงตัวเลข ซึ่ง อ่านต่อ...

ความคลาดเคลื่อน

 
ความคลาดเคลื่อน (Error)
 หมายถึง ค่าที่วัดได้ไม่เท่ากับค่ามาตรฐาน ซึ่งมีได้สองทาง ถ้าค่าที่วัดได้มากกว่าค่ามาตรฐาน เรียกว่าค่าคลาดเคลื่อนทางบวก และหากได้ค่าที่วัดน้อยกว่า มาตรฐานเรียกว่าค่าคลาดเคลื่อนทางลบ อ่านต่อ...



เลขนัยสำคัญ

เลขนัยสำคัญ (significant figure) คือ จำนวนหลักของตัวเลขที่แสดงความเที่ยงตรงของปริมาณที่วัดหรือคำนวณได้ ดังนั้นตัวเลขนัยสำคัญจึงประกอบด้วยตัวเลขทุกตัวที่แสดงความแน่นอน (certainty) รวมกับตัวเลขอีกตัวหนึ่งที่แสดงความไม่แน่นอน (uncertainty) ซึ่งขึ้นอยู่กับอุปกรณ์ที่เราเลือกใช้ด้วย อ่านต่อ...

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เลขนัยสำคัญ

หน่วยฐานเอสไอ

หน่วยฐานเอสไอ (SI base unit) เป็นหน่วยที่ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศกำหนดไว้เป็นพื้นฐาน โดยหน่วย เอสไออื่นๆที่เรียกว่าหน่วยอนุพันธ์เอสไอ จะเกิดจากการนำหน่วยฐานเอสไอมาประกอบกันทั้งหมด หน่วยฐานเอสไอมีทั้งหมด 7 หน่วยได้แก่
  • เมตรสำหรับวัดความยาว
  • กิโลกรัมสำหรับวัดมวล
  • วินาทีสำหรับวัดเวลา
  • แอมแปร์สำหรับวัดกระแสไฟฟ้า
  • เคลวินสำหรับวัดอุณหภูมิอุณหพลวัติ อ่านต่อ...
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ หน่วย IS